ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business)
คือ กระบวนการดําเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การเครือข่ายร่วม
(Internetworked Network) ไม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทํางานร่วมกัน
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
คือ การทําธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
E-Business และ E-Commerce
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
กรอบการทํางาน (E-Commerce Framework)
การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)
-การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
-การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์
(E-Advertisement)
-การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
(E-Auctions)
-การบริการอิเล็กทรอนิกส์(E-Service)
-รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(E-Government)
-การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
(M-Commerce : Mobile Commerce)
โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)
องค์ประกอบหลักสําคัญด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน
ที่จะนํามาใช้เพื่อการพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
1. ระบบเครือข่าย (Network)
2. ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
3. การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)
4. การรักษาความปลอดภัย
(Security)
การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce
Application Development
2. การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce
Strategy
3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
E-Commerce Law
4. การจดทะเบียนโดเมนเนม
Domain Name Registration
5. การโปรโมทเว็บไซต์ Website
Promotion
The Dimensions of E-Commerce
ประเภทของ E-Commerce กลุ่มธุรกิจที่ค้ากําไร (Profits
Organization)
1. Business-to-Business (B2B)
2. Business-to-Customer (B2C)
3. Business-to-Business-to-Customer
(B2B2C)
4. Customer-to-Customer (C2C)
5. Customer-to-Business (C2B)
6. Mobile Commerce
ประเภทของ E-Commerce กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากําไร
(Non-Profit Organization)
1. Intrabusiness (Organization)
E-Commerce
2. Business-to-Employee (B2E)
3. Government-to-Citizen (G2C)
4. Collaborative Commerce
(C-Commerce)
5. Exchange-to-Exchange (E2E)
6. E-Learning
E-Commerce Business Model
แบบจําลองทางธุรกิจ หมายถึง วิธีการดําเนินการทางธุรกิจที่ช่วยสร้างรายได้
อันจะทําให้บริษัทอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม
(Value Add) ให้กับสินค้าและบริการ
ข้อแตกต่างระหว่างการทําธุรกิจทั่วไป กับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์