วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 5 E-Commerce

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business)

                   คือ กระบวนการดําเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การเครือข่ายร่วม (Internetworked Network) ไม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทํางานร่วมกัน

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
                   คือ การทําธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น


E-Business และ E-Commerce เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร




กรอบการทํางาน (E-Commerce Framework)



การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)
-การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
-การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
-การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auctions)
-การบริการอิเล็กทรอนิกส์(E-Service)
-รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
-การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (M-Commerce : Mobile Commerce)

โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)
องค์ประกอบหลักสําคัญด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนํามาใช้เพื่อการพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
1. ระบบเครือข่าย (Network)
2. ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
3. การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)
4. การรักษาความปลอดภัย (Security)

การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development
2. การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce Strategy
3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce Law
4. การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration
5. การโปรโมทเว็บไซต์ Website Promotion


The Dimensions of E-Commerce


ประเภทของ E-Commerce    กลุ่มธุรกิจที่ค้ากําไร (Profits Organization)
1. Business-to-Business (B2B)
2. Business-to-Customer (B2C)
3. Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
4. Customer-to-Customer (C2C)
5. Customer-to-Business (C2B)
6. Mobile Commerce

ประเภทของ E-Commerce  กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากําไร (Non-Profit Organization)
1. Intrabusiness (Organization) E-Commerce
2. Business-to-Employee (B2E)
3. Government-to-Citizen (G2C)
4. Collaborative Commerce (C-Commerce)
5. Exchange-to-Exchange (E2E)
6. E-Learning

E-Commerce Business Model
                   แบบจําลองทางธุรกิจ หมายถึง วิธีการดําเนินการทางธุรกิจที่ช่วยสร้างรายได้ อันจะทําให้บริษัทอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Add) ให้กับสินค้าและบริการ

ข้อแตกต่างระหว่างการทําธุรกิจทั่วไป กับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์








วันอังคารที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 4 E-business strategy

ความหมายของ Strategy
              การกําหนดทิศทาง และ แนวทางในการปฏิบัติ ในอนาคต ขององค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรที่ได้วางไว

ความหมายของ E-Strategy
             วิธีการที่จะทําให้กลยุทธ์ขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยการนําการสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้งาน ทั้งการสื่อสารภายในองค์กร และ การสื่อสารภายนอกองค์กร

Business Strategy
               คือ กลยุทธ์ที่จะเชื่อมให้แบบจําลองทางธุรกิจ เป็นจริงได้ทํายังไงให้การสร้าง มูลค่า นั้นเป็นจริงได้ แล้วทํายังไงที่จะส่ง มูลค่า นั้นให้กับลูกค้าได้ดีที่สุดแต่เป็นการสร้างธุรกิจที่มีความแตกต่าง อย่างไรก็ตามในเรื่องนี้จะพูดถึงตัวแบบขั้นตอนกลยุทธ์หลักในการทําธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง 4 ขั้นตอนดังนี้
-Strategic evaluation : กลยุทธ์การประเมิน
-Strategic objectives : กลยุทธ์การวางแผนวัตถุประสงค์
-Strategy definition : กลยุทธ์การกําหนดนิยาม
-Strategy implementation : กลยุทธ์การดําเนินงาน

กลยุทธ์ของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business Strategies)
              กลยุทธ์ เป็นตัวกําหนดทิศทางและการดําเนินงาน ด้านต่างๆ ขององค์กร กลยุทธ์เป็นเสมือนกับเหตุผลและความมุ่งหมายขององค์กรองค์ประกอบที่สําคัญของกลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ คือ การสร้างช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ให้กับองค์กร กลยุทธ์ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์จะช่วยในการกําหนดเป้าหมายที่ชัดเจนหรือเหมาะสม


Different forms of organizational strategy


Relationship between e-business strategy and other strategies



E-channel strategies
                E-Channel ย่อมาจาก electronic channels คือ การสร้างช่องทางใหม่ๆ ในการกระจายสินค้า ทั้งจากลูกค้า และคู่ค้า โดยที่ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์

multi-channel e-business strategy
                กลยุทธ์หลายช่องทาง e - business เป็นการกําหนดวิธีการทางการตลาดที่แตกต่าง และ ช่องทางของห่วงโซ่อุปทาน

ตัวอย่าง multi-channel ของกลยุทธ์การเช็คอินของ AIR ASIA





Strategy process models for e-business




บทที่ 3 E- ENVIRONMENT



สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ จึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2ประเภทหลักๆ ด้วยกัน ได้แก่
              สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจ Internal Environment คือสภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจสามารถควบคุมได้ หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่ธุรกิจสามารถกำหนด และ ควบคุมได้เป็นไปตามความต้องการของธุรกิจถือว่าเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโปรแกรมการตลาด
              สภาพแวดล้อมภายในธุรกิจ External Environment ภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจไม่สามารถควบคุมได้ ปัจจัยกลุ่มนี้ หมายถึงปัจจัยยังคับภายนอกธุรกิจที่มีอิทธิพลต่อระบบการตลาด

สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับจุลภาค(Micro External Environment) คือ ภาวะแวดล้อมภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถ ควบคุมได้ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
-ตลาด หรือลูกค้า (Market)
-ผู้ขายปัจจัยการผลิตหรือวัตถุดิบ (Suppliers)
-คนกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries)
-สาธารณชนและกลุ่มผลประโยชน์ (Publics)

สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับมหภาค(Macro External Environment) คือ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินธุรกิจและต่อระบบการตลาดเป็นอย่างมากแบ่งออกได้เป็น 4ประการ ได้แก่
-ด้านการเมืองและกฎหมาย
-เศรษฐกิจ
-สังคม
-เทคโนโลยี


S (Strengths) จุดแข็ง
            เป็นปัจจัยภายในที่สามารถควบคุมได้ตามศักยภาพของธุรกิจที่มีอยู่ จุดแข็งนี้จะก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจ

W (Weaknesses) จุดอ่อน
            เป็นปัจจัยภายในที่เกิดจากปัญหาภายในธุรกิจ อันเนื่องมาจากการบริหารงานที่ผิดพลาด ข้อจํากัดบางประการของศักยภาพทางธุรกิจ ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลร้ายถ้าไม่รีบดําเนินการแก้ไข

O (Opportunities) โอกาส
            เป็นปัจจัยภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือไม่เกิดขึ้นได้ แต่เป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันส่งผลดีให้กับธุรกิจโดยบังเอิญ

T (Threats) อุปสรรค
            เป็นปัจจัยภาย นอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือ ไม่เกิดขึ้นได้ และเป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันเลวร้ายที่ส่งผลกระทบให้ธุรกิจเสียหาย



 E-environment

Social Factor
              สภาวะแวดล้อมทางสังคมเป็น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคอย่างมาก เนื่องจากโครงสร้างทางสังคมประกอบไปด้วย ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ

Political and Legal Factor
              สภาวะแวดล้อมทางการเมืองและกฎหมาย เป็นปัจจัยสําคัญที่ส่งผลกระทบต่อนโยบายประกอบธุรกิจของประเทศ โดย เฉพาะประเทศไทยซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแบบผสมผสานพรรคบ่อยๆ

Economic Factor
             สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ(Economic) เศรษฐกิจเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นปริมาณการจัดสรรและการใช้ทรัพยากร ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีแรงผลักดันที่สําคัญต่อการดําเนินงานขององค์กรธุรกิจ

Technological Factor
              สภาวะแวดล้อมทางเทคโนโลยี ปัจจุบันเป็นยุคความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อทิศทางและความก้าวหน้าขององค์กรธุรกิจ