Supply Chain Management
ระบบที่จัดการการบริหารและเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่ suppliers,manufacturers, distributors เพื่อส่งมอบสินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล
วัตถุดิบ สินค้าและบริการ เงินทุน รวมถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน
ขั้นตอนวิวัฒนาการไปสู่ระบบการจัดการซัพพลายเชน
การกําเนิดระบบการบริหารซัพพลายเชนกล่าวกันว่ามีต้นแบบมาจากการส่งลําเลียงเสบียงอาหารและอาวุธยุโธปกรณ์ตามระบบส่งกําลังบํารุงของทหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสงครามที่ต้องการความมั่นใจว่าอาวุธและเสบียงอาหารจะต้องจัดส่งให้เพียงพอกับความต้องการและไปยังสถานที่ที่กําหนดอย่างถูกต้องตรงเวลา
เพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด
ซึ่งต่อมาแนวความคิดดังกล่าวได้นํามาพัฒนาและดัดแปลงให้กับธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสร้างคุณค่าและความพึงพอใจแก่ลูกค้าด้วยต้นทุนที'ลดลง โดย Helen Peek และคณะได้กล่าวถึงระยะของการเปลี่ยนแปลงธุรกิจเพื่อเข้าสู่กระบวนบริหารซัพพลายเชน
4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 องค์กรในรูปแบบพื้นฐาน
(The Beseline Organization)
ระยะที่ 2 องค์กรที่รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน
(The Functionally Integrated Company)
ระยะที่ 3 องค์กรที่รวมการดำเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน
(The Internally Integrated Company)
ระยะที่ 4 องค์กรที่รวมการดำเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน
(The Externally Integrated Company)
การบริหารจัดการซัพพลายเซน
เป็นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชนเราเป็นสําคัญองค์กรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงานและการประสานงานระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆจะต้องพิจารณาความสามารถในการประสานระบบงานระหว่างองค์กรใน
3 ส่วนหลัก ได้แก่
1.ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม suppliers
(Supplymanagement interface capabilities)
2.ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า(Demand-management
interface capabilities)
3.ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ(Information
management capabilities)
ปัญหาของการจัดการซัพพลายเซน
1. ปัญหาจากการพยากรณ์
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต
3. ปัญหาด้านคุณภาพ
4. ปัญหาในการส่งมอบสินค้า
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ
6. ปัญหาจากลูกค้า
Bullehip Effect
คือปัญหาที'เกิดจากความแปรปรวนเล็กน้อยของความต้องการถูกนํามาขยาย
เมื่อส่งข้อมูลกลับต้นทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศในซัพพลายเซน
เทคโนโลยีช่วยในการจัดการซัพพลายเชน การจัดระบบซัพพลายเชนให้มีประสิทธิภาพนั้น
กล่าวกันว่ามีองค์ประกอบที่สําคัญไม่ว่าจะเป็นการจัดการในเรื่องความต้องการของผู้บริโภคที'มีต่อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ (Demand
management) ให้ใกล้เคียงความจริงมากที'สุด
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) หรือในบางครั้งเรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการทางธุรกิจและการดําเนินงานระหว่างธุรกิจกับธุรกิจและระหว่างบุคคลกับธุรกิจ
ในธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) จะมีการทําธุรกรรมผ่านสื่อต่างๆ
ทางอิเล็กส์ทรอนิกส์
การใช้บาร์โค้ด (Barcode)
บาร์โค้ดหรือรหัสแท่ง เป็นสัญลักษณ์ที'อยู่ในรูปของแท่งบาร์ โดยจะประกอบไปด้วยบาร์ที'มีสีเข้มและช่องว่างสีอ่อน
ซึ่งบาร์เหล่านี้จะเป็นตัวแทนของตัวเลขและตัวอักษร สามารถอ่านได้ด้วยเครื่อง Scanner
บาร์โค้ดจึงทําหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ของสินค้า อาทิ
หมายเลขของสินค้า
การเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI : Electronic Data Interchange)
เป็นเทคโนโลยีอีกประการหนึ่งที'มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการซัพพลายเชน
เป็นระบบถ่ายทอดข่าวสารข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในรูปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เป็นเทคโนโลยีอีกประการหนึ่งที'มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการซัพพลายเชน เป็นถ่ายทอดข่าวสารข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในรูปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
การใช้ซอฟต์แวร์ Application SCM
การนําซอฟแวร์มาพัฒนาและประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น Enterprise Resource Planning (ERP) เป็นซอฟแวร์ที่จัดเป็นระบบศูนย์กลางขององค์กรทั้งหมด
ทําหน้าที่ประสานงานหลักๆ ในด้านต่างๆ เช่น การเงิน การผลิต และการจัดคลังสินค้า
ซึ่งในปัจจุบันผู้ผลิตระบบ
ERP หลักๆ มีอยู่ 5 รายด้วยกัน คือ SAP,
ORACLE, Peoplesoft, J.D. Edwards และ Baan
The Minor Group
นายวิลเลียม อี. ไฮเนคกี้
“การทําธุรกิจโอกาสมีอยู่ทุกที่ แต่ต้องสร้างการแข่งขันและหาโอกาสที่เหมาะสม
ไม่ใช่แค่มองว่า ทําอะไรก็ได้ เพราะมันไม่ง่ายอย่างที่คิด”
ก่อนจะเป็น เดอะ ไมเนอร์ กรุ๊ป
เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2520 จากการทําธุรกิจเทรดดิ้ง ขายอุตสาหกรรม
หลังจากนั้น นายวิลลเลียม อี. ไฮเนคกี้ ผู้ก่อตังและประธานของเดอะ ไมเนอร์ กรุ๊ป ได้ขยายเข้าสู่ธุรกิจฟาสต์ฟูดในปี
2551 เริ่มจากเชนร้านไอศครีมชื่อ ศาลาโฟร์โมสต์ มิสเตอร์โดนัท และพิซซ่า ฮัท
พร้อมกับการผลิตสินค้าอุตสาหกกรมและการส่งออก และธุรกิจโรงแรม
แต่มาโด่งดังและประสบความสําเร็จสูงสุดจากการเปิดตัวแฟรนไชส์ ร้านพิซซ่า
ฮัท แห่งแรกที่พัทยา เมื่อประมาณ 25-26 ปีก่อน จากนั้นมากิจการเติบโตอย่างรวดเร็วโดยสามารถขายเครือข่ายได้มากกว่า
100 แห่ง
การลงทุนในด้านอื่นๆ
ไมเนอร์ กรุ๊ป ยังได้ลงทุนในโรงงานเสริมธุรกิจอาหาร คือลงทุนในโรงงานผลิตชีส
ที(ประกอบด้วย บจก.ไมเนอร์ แดรี่ฯ และบจก.ไมเนอร์ ชีสฯ เพื่อป้อนวัตถุดิบให้กับธุรกิจอาหารและส่งออกไปต่างประเทศด้วย
ทําให้สามารถควบคุมต้นทุนการผลิต
และสุดท้าย ไมเนอร์ กรุ๊ป ยังทําธุรกิจจัดจําหน่ายสินค้าอุปโภค
ภายใต้ชื่อ บมจ.ไมเนอร์
คอร์ปอเรชั่น ซึ่งจัดเป็นบริษัทชันนํารายหนึ่งของวงการ โดยนําสินค้าที่นําเข้ามาทําตลาดล้วนเป็นแบรนด์เนมมีชื่อ
ด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าแฟชั่น จะมีแบรนด์ เอสปรี, บอสสินี, ทิมเบอร์แลนด์, ชาลร์ส
แอนด์ คีท,
กระเป๋าทูมี่
ส่วนรายได้ของกลุ่ม ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่นนั้น มาจากธุรกิจค้าปลีกเป็นหลัก
ได้แก่ เครื่องสําอางค์ สินค้าแฟชั่น คิดเป็น 52% ของรายได้, กลุ่มรับจ้างผลิต คิดเป็น 42% และอีก 6% เป็นธุรกิจอื่นๆ
1. ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning)
2. ระบบ POS (Point of Sale)
3. ระบบ Barcode
4. ระบบ CRM (Customer Relationship Management)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น